ก
ก
ก
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ 57,324
Language
ไทย
กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
Department of International Organizations, Ministry of Foreign Affairs
วันทำการ : จันทร์ - ศุกร์ เวลา 08.30 - 16.30 น. (ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์)
02 643 5223
02 203 5000
[email protected]
กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ
Language
ไทย
หน้าหลัก
เกี่ยวกับกรม
โครงสร้าง
ข้อมูลผู้บริหาร
อำนาจหน้าที่
คู่มือการปฏิบัติงาน
แผนยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาหน่วยงาน
เอกสารแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
Booklet infographic แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่างประเทศ (พ.ศ.2561-2580)
แผนยุทธศาสตร์รายภูมิภาคและแผนปฏิบัติการการทูตพหุภาคี พ.ศ. 2566-2570
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในกระทรวงการต่างประเทศ
รายชื่อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
สหประชาชาติ
ประวัติองค์การสหประชาชาติ
องค์กรหลักของสหประชาชาติ
องค์ประกอบ UNSC
สมาชิกสหประชาชาติ
เลขาธิการสหประชาชาติ
ยูเนสโกและคณะกรรมการมรดกโลก
ไทยกับสหประชาชาติ
ไทยกับสหประชาชาติ
ไทยกับยูเนสโก
ไทยกับคณะกรรมการมรดกโลก
UNAT
สันติภาพความมั่นคงและการลดอาวุธ
สันติภาพและความมั่นคง
ความมั่นคงทางไซเบอร์
การลดอาวุธ
อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง
อาวุธตามแบบ / อาวุธขนาดเล็ก
การพัฒนาและสิ่งแวดล้อม
ความตกลงปารีส: ก้าวสำคัญของการดำเนินการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
carbon neutrality + net zero greenhouse gas emission
วาระเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
น้ำ + การพัฒนาที่ยั่งยืน
สังคมและสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของไทย
ความมั่นคงของมนุษย์
ยาเสพติด - อาชญากรรมในกรอบ UN
การโยกย้ายถิ่นฐาน+ปัญหาการค้ามนุษย์ใน UN
เชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์
การดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR)
Thailand4HRC 2025 - 2027
สื่อประชาสัมพันธ์
E-book
การ์ตูนบัวแก้วไขปริศนา UN
แผนสิทธิมนุษยชน
VNR 2565-2566
โลกของเราและ 17 เป้าหมาย the planet and the 17 goal
MFA updates
MFA Update : Asia-Pacific Regional Dialogue for Human Rights 75
MFA Update : Thailand’s Roles as the Elected President of the 67th General Conference (IAEA)
MFA Update : “The 78th United Nations General Assembly (UNGA78) : Benefits for Thailand”
MFA Update : “The candidature of Thailand to the Human Rights Council for the term 2025-2027”
MFA Update : Sustaining Sustainability for All
นักการทูต ผู้แทนไทยในเวทีระหว่างประเทศ | นักการทูต The Series Ep. 10
ประกาศและอื่นๆ
ประกาศรับสมัครงาน
ประกาศนโยบาย PDPA
ประกาศอื่นๆ
ติดต่อเรา
ข้อมูลการติดต่อ
ประกาศช่องทางติดต่ออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือแนวทางการการติดต่อประสานงานกับกรมองค์การระหว่างประเทศ
คู่มือแนวทางการติดต่อเป็นนักศึกษาฝึกงาน
Manual for the Online Reservation Form
E-service
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
การส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
การดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566
แผนความก้าวหน้าดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี 2567
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณปี 2567
รายงานการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2566
รายงานการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2567 งบรายจ่าย หมวดงบลงทุน
ประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2567
ความก้าวหน้า การจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2567 : เฉพาะที่มีสัญญา
การบริหารและพัฒานาทรัพยากรบุคคล
รายงานการบริหาร/พัฒนาทรัพยากรบุคคล ปี 2566
แผนบริหาร/พัฒนาทรัพยากรบุคคล ปี 2567
มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม คุณธรรม
ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การขับเคลื่อนจริยธรรม ปี 2567
รายงานการส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ปี 2566
รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินการตามแผนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2566
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องการร้องเรียนทุจริตและการประพฤติมิชอบ
ช่องทางการร้องเรียนการทุจริต
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริต
รายงานการดำเนินการ/จัดการความเสี่ยงการทุจริต ปี 2566
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต 2566
มาตรการส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ปี 2566
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ปี 2567
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประเด็นสินบน 2567
การมีส่วนร่วมของบุคคลภายนอก ปี 2567
No Gift Policy
การประกาศเจตนารมณ์ No Gift Policy
รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
รายงานการรับทรัพย์สิน/ประโยชน์โดยธรรมจรรยา
นศ. ฝึกงาน
หน้าหลัก
เกี่ยวกับกรม
โครงสร้าง
ข้อมูลผู้บริหาร
อำนาจหน้าที่
คู่มือการปฏิบัติงาน
แผนยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาหน่วยงาน
เอกสารแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
Booklet infographic แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่างประเทศ (พ.ศ.2561-2580)
แผนยุทธศาสตร์รายภูมิภาคและแผนปฏิบัติการการทูตพหุภาคี พ.ศ. 2566-2570
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการภายในกระทรวงการต่างประเทศ
รายชื่อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
สหประชาชาติ
ประวัติองค์การสหประชาชาติ
องค์กรหลักของสหประชาชาติ
องค์ประกอบ UNSC
สมาชิกสหประชาชาติ
เลขาธิการสหประชาชาติ
ยูเนสโกและคณะกรรมการมรดกโลก
ไทยกับสหประชาชาติ
ไทยกับสหประชาชาติ
ไทยกับยูเนสโก
ไทยกับคณะกรรมการมรดกโลก
UNAT
สันติภาพความมั่นคงและการลดอาวุธ
สันติภาพและความมั่นคง
ความมั่นคงทางไซเบอร์
การลดอาวุธ
อาวุธที่มีอานุภาพทำลายล้างสูง
อาวุธตามแบบ / อาวุธขนาดเล็ก
การพัฒนาและสิ่งแวดล้อม
ความตกลงปารีส: ก้าวสำคัญของการดำเนินการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
carbon neutrality + net zero greenhouse gas emission
วาระเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
น้ำ + การพัฒนาที่ยั่งยืน
สังคมและสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติของไทย
ความมั่นคงของมนุษย์
ยาเสพติด - อาชญากรรมในกรอบ UN
การโยกย้ายถิ่นฐาน+ปัญหาการค้ามนุษย์ใน UN
เชื้อเอชไอวีและโรคเอดส์
การดื้อยาต้านจุลชีพ (AMR)
Thailand4HRC 2025 - 2027
สื่อประชาสัมพันธ์
E-book
การ์ตูนบัวแก้วไขปริศนา UN
แผนสิทธิมนุษยชน
VNR 2565-2566
โลกของเราและ 17 เป้าหมาย the planet and the 17 goal
MFA updates
MFA Update : Asia-Pacific Regional Dialogue for Human Rights 75
MFA Update : Thailand’s Roles as the Elected President of the 67th General Conference (IAEA)
MFA Update : “The 78th United Nations General Assembly (UNGA78) : Benefits for Thailand”
MFA Update : “The candidature of Thailand to the Human Rights Council for the term 2025-2027”
MFA Update : Sustaining Sustainability for All
นักการทูต ผู้แทนไทยในเวทีระหว่างประเทศ | นักการทูต The Series Ep. 10
ประกาศและอื่นๆ
ประกาศรับสมัครงาน
ประกาศนโยบาย PDPA
ประกาศอื่นๆ
ติดต่อเรา
ข้อมูลการติดต่อ
ประกาศช่องทางติดต่ออิเล็กทรอนิกส์
คู่มือแนวทางการการติดต่อประสานงานกับกรมองค์การระหว่างประเทศ
คู่มือแนวทางการติดต่อเป็นนักศึกษาฝึกงาน
Manual for the Online Reservation Form
E-service
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
การส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
การดำเนินงาน
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ 2566
แผนความก้าวหน้าดำเนินงานและการใช้งบประมาณประจำปี 2567
การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ
แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปีงบประมาณปี 2567
รายงานการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2566
รายงานการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2567 งบรายจ่าย หมวดงบลงทุน
ประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2567
ความก้าวหน้า การจัดซื้อจัดจ้าง หรือการจัดหาพัสดุ ปี 2567 : เฉพาะที่มีสัญญา
การบริหารและพัฒานาทรัพยากรบุคคล
รายงานการบริหาร/พัฒนาทรัพยากรบุคคล ปี 2566
แผนบริหาร/พัฒนาทรัพยากรบุคคล ปี 2567
มาตรการเสริมสร้างมาตรฐานทางจริยธรรม คุณธรรม
ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ
การขับเคลื่อนจริยธรรม ปี 2567
รายงานการส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ปี 2566
รายงานความก้าวหน้าผลการดำเนินการตามแผนส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมและการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ประจำปี พ.ศ.2566
การป้องกันและปราบปรามการทุจริต
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องการร้องเรียนทุจริตและการประพฤติมิชอบ
ช่องทางการร้องเรียนการทุจริต
สถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริต
รายงานการดำเนินการ/จัดการความเสี่ยงการทุจริต ปี 2566
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต 2566
มาตรการส่งเสริมคุณธรรม และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน ปี 2566
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต ปี 2567
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประเด็นสินบน 2567
การมีส่วนร่วมของบุคคลภายนอก ปี 2567
No Gift Policy
การประกาศเจตนารมณ์ No Gift Policy
รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
การสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy
รายงานการรับทรัพย์สิน/ประโยชน์โดยธรรมจรรยา
นศ. ฝึกงาน
Q&A
หน้าหลัก
สหประชาชาติ
ประวัติ UN
สหประชาชาติ
ประวัติ UN
องค์กรหลักของสหประชาชาติ
องค์ประกอบ UNSC
สมาชิกสหประชาชาติ
เลขาธิการสหประชาชาติ
ยูเนสโกและคณะกรรมการมรดกโลก
สหประชาชาติ
ประวัติ UN
องค์กรหลักของสหประชาชาติ
องค์ประกอบ UNSC
สมาชิกสหประชาชาติ
เลขาธิการสหประชาชาติ
ยูเนสโกและคณะกรรมการมรดกโลก
217,251 view
ประวัติ UN
หลังสงครามโลกครั้งที่ 1 : การประชุมสันติภาพ ณ กรุงปารีส (The Paris Peace Conference) เห็นชอบให้มีการจัดตั้งสันนิบาตชาติ
28 มิถุนายน 2462 (ค.ศ. 1919) : สันนิบาตชาติ (The League of Nations : LN)
สมาชิกก่อตั้ง : 42 ประเทศ
สำนักงานใหญ่ : นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส
จุดมุ่งหมาย : ป้องกันสงครามและความขัดแย้งในอนาคต
ก่อตั้งวันที่ 24 ตุลาคม 2488 (ค.ศ.1945) และวันที่ 24 ตุลาคม จึงถือเป็นวันสหประชาชาติ (United Nations : UN)
ประเทศร่วมก่อตั้ง 51 ประเทศ
ประเทศร่วมก่อตั้ง 51 ประเทศ
กฎบัตรสหประชาชาติ (UN Charter) มีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ มีผลบังคับใช้หลังจากที่ประเทศจีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร และประเทศอื่นๆ จำนวน 46 ประเทศ ให้สัตยาบัน
การประชุมสมัชชาฯ ครั้งแรก : กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร (10 ม.ค. 2489)
สำนักงานใหญ่ : นครนิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
สำนักงานย่อย :
นครเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส
กรุงไนโรบี สาธารณรัฐเคนยา
กรุงเวียนนา สาธารณรัฐออสเตรีย
สำนักงานคณะกรรมาธิการภูมิภาคของสหประชาชาติ :
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาชาติสำหรับเอเชียและแปซิฟิก (ESCAP) : กรุงเทพฯ
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจสำหรับแอฟริกา (ECA): กรุงแอดดิสอาบาบา สหพันธ์รัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปีย
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจสำหรับลาตินอเมริกาและแคริบเบียน (ECLAC) : กรุงซานติอาโก สาธารณรัฐชิลี
คณะกรรมาธิการเศรษฐกิจและสังคมสำหรับเอเชียตะวันตก (ESCWA): กรุงเบรุต สาธารณรัฐเลบานอน
คณธกรรมาธิการเศรษฐกิจสำหรับยุโรป (ECE) : นครเจนีวา สหพันธรัฐสวิส
สมาชิก : 193 ประเทศ (ประเทศสมาชิกล่าสุด คือ สาธารณรัฐเซาท์ซูดาน – 9 ก.ค. 2554)
วัตถุประสงค์
เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
เพื่อพัฒนาความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างประชาชาติทั้งหลาย โดยเคารพหลักการแห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเอง
เพื่อให้บรรลุถึงความร่วมมือระหว่างประเทศในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมหรือมนุษยธรรม และการส่งเสริม/สนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพสำหรับทุกคน โดยไม่เลือกปฏิบัติในเรื่องเชื้อชาติ เพศ ภาษาหรือศาสนา
เพื่อเป็นศูนย์กลางสำหรับประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งหลายให้กลมกลืนกัน
PREAMBLE
“WE THE PEOPLES OF THE UNITED NATIONS DETERMINED … to save succeeding generations from the scourge of war, which twice in our lifetime has brought untold sorrow to mankind”
หลักการสำคัญของสหประชาชาติ
หลักความเสมอภาคในอธิปไตย:
ทุกรัฐมีความเสมอภาคกันในอำนาจอธิปไตย ประเทศสมาชิกสหประชาชาติจึงมีสิทธีเสียงเท่าเทียมกันไม่ว่าจะเป็นประเทศใหญ่หรือเล็ก
หลักความมั่นคงร่วมกัน:
ประเทศสมาชิกต้องรวมกำลังกันเพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงร่วมกัน โดยต้องยอมรับและปฏิบัติตามข้อผูกพันตามกฎบัตร โดยเฉพาะคำวินิจฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงระหว่างประเทศ
หลักเอกภาพระหว่างมหาอำนาจ:
กฎบัตรให้ความรับผิดชอบพิเศษแก่มหาอำนาจ 5 ประเทศเป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงระหว่างประเทศ และให้สิทธิยับยั้ง (Veto)
หลักการไม่ใช้กำลังและการระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี:
เพื่อจำกัดความขัดแย้งทั้งหลายให้อยู่ในขอบเขต ไม่กระทบสันติภาพโดยส่วนรวม
หลักความเป็นสากลขององค์กร:
เปิดกว้างแก่รัฐที่รักสันติทั้งปวง และให้ประเทศที่ไม่ได้เป็นสมาชิกพึงปฏิบัติตามหลักการของสหประชาชาติเท่าที่จำเป็นแก่การรักษาสันติภาพ
หลักการเคารพเขตอำนาจศาลภายใน:
ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรที่ให้อำนาจแก่สหประชาชาติเข้าแทรกแซงกิจการที่อยู่ในเขตอำนาจภายในของรัฐ